Sustainable and Environmental Engineering

(ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน)

ด้านการพัฒนา/เทคโนโลยี/เคมีภัณฑ์

ผศ.ดร.เบญจพร เลิศอนันตวงศ์ (เคมีไฟฟ้า)

อ.ดร.สุวิน อภิชาติพัฒนศิริ (คาร์บอนฟุตพริ้นท์/ก๊าซเรือนกระจก)

ผศ.ดร.วนิดา คูอมรพัฒนะ (การเพิ่มมูลค่าชีวมวลโดยผลิตเป็นตัวเก็บประจุยิ่งยวด/ตัวเร่งปฏิกิริยา/ถ่านกัมมันต์จากชีวมวล/ไพโรไลซิสพลาสติกหรือชีวมวล)

รศ.ดร.จุฬารัตน์ ศักดารณรงค์ (เทคโนโลยีการแปลงชีวมวลเพื่อการสังเคราะห์เชื้อเพลิงและสารเคมี/พอลิเมอร์ชีวภาพจากเซลลูโลสและสตาร์ช/เซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์/การผลิตแก๊สชีวภาพ/ไฮโดรเจนชีวภาพ/การแปลงชีวมวลลิกโนเซลลูโลสและแป้งด้วยกระบวนการทางชีวภาพและเคมี ไปเป็นพอลิแซคคาไรด์ กรดอินทรีย์/การแปลงลิกนินเป็นสารฟีนอลิค น้ำมันชีว/ภาพาร์บอนดอทสำหรับการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงในเซลล์สิ่งมีชีวิต)

ผศ.ดร.ศิระ ศรีนิเวศน์ (ออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และการประยุกต์ใช้งาน/วัสดุผสมออกไซด์ของโลหะ/ Chemical sensors for gas and liquid toxicant)

ผศ.ดร.พรชัย บำรุงศรี (การควบคุมกระบวนการขั้นสูง/พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ/การพัฒนาและสังเคราะห์วัสดุขั้นสูง)

ผศ.ดร.วรางคณา พรพุทธาพิทักษ (การสกัดสารจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ/การพัฒนารูปแบบยา)

ผศ.ดร.ภัทรพร โปสกนิษฐกุล (วัสดุชีวภาพ, อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ)

ผศ.ดร.อรรถพล ศรีฟ้า (ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ / การผลิตสารเคมีและเชื้อเพลิงชีวภาพ / การแปลงชีวมวล)

ผศ.ดร.สาคร ราชหาด (การเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์ เทคโนโลยีการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ การสังเคราะห์วัสดุนาโน)

อ.ดร.ทิพย์รวี ทองธรรมชาติ (การสังค์เคราะห์กลูโคส)

อ.ดร.ณัฐธีร์ อัครวัฒน์โฆษิต (เคมีชีวภาพ/เชื้อเพลิงชีวภาพ)

ศ.ดร.มะลิ หุ่นสม (ตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงสำหรับการเปลี่ยนขยะอุตสาหกรรมเป็นสารประกอบที่มีมูลค่าเพิ่ม/ตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนการบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรมด้วยเทคนิคเคมี/ไฟฟ้าเคมี)

ผศ.ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ (การแปลงและการปรับสภาพด้วยความร้อนทางเคมี/การสังเคราะห์และการประยุกต์ใช้อนุภาคนาโนคาร์บอนและถ่านกัมมันต์จากของเสียไฮโดรคาร์บอนจากปิโตรเลียมและปิโตรเคมีและกากชีวมวล/กระบวนการพลาสมาและโฟโตคะตาไลติกสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารและการบำบัดสิ่งแวดล้อม)

Prof.Dr. Mohammad Naghi Eshtiaghi (เทคโนโลยีอโรมา, เทคโนโลยีเอนไซม์, เทคโนโลยีชีวภาพด้านอาหารและการหมัก, สารต้านจุลชีพตามธรรมชาติ, นาโนเทคโนโลยี, การห่อหุ้ม, อาหารสำหรับผู้สูงอายุ)

อ.ดร.โรจลักษณ์ จักรไพวงศ์ (การพัฒนาองค์การเพื่อการเปลี่ยนแปลง/การจัดการสมรรถนะของมนุษย์)

รศ.ดร.อดิศร ลีลาสันติธรรม (การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain และ Smart Contract/กระบวนการและการจัดการคุณภาพเช่น TQA, EdPEx, AUNQA, การประเมิน/กรอบมาตรฐานสำหรับการกำกับดูแลด้านไอที เช่น ITILv3, COBIT5)

อ.ดร.ปรัชญ์ สง่างาม (เทคโนโลยีสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการ/E-Learning pedagogy/การจัดการระบบสารสนเทศ)

อ.ดร.ธีรยา มะยะกูล (ไอทีด้านสุขภาพ/สถาปัตยกรรมองค์กร, เทคโนโลยีด้านสุขภาพ, การเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัล, การกำกับดูแลดิจิทัล/EA)

รศ.ดร.ฉัตรชัย เนตรพิศาลวนิช (การประมวลผลสัญญาณเชิงเลข/ระบบสมองกลฝังตัว/ระบบไม่เป็นเชิงเส้น (Digital signal processing/Embedded systems/Non-linear systems))

รศ.ศุภชัย ไพบูลย์ (การคำนวณความแรงของสัญญาณคลื่นวิทยุ การจัดการและการตรวจสอบพลังงานในอาคารและโรงงานควบคุม (Radio wave signal strength prediction Energy management and audit for buildings and factories)

อ.ดร.สมนิดา ภัทรนันท์ (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)

ผศ.เดชา วิไลรัตน์ (วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งอะแนล็อกและดิจิทอล / อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ (Analog and digital circuits / Semiconductor Devices)

ผศ.ดร.ชัชวาลย์ เยรบุตร (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/คุณภาพไฟฟ้า/รถยนต์ไฟฟ้า)

ผศ.ดร.เชง เลิศมโนรัตน์ (electronic/embedded system)

รศ.ดร.พงศธร เศรษฐีธร (วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาปัตยกรรมองค์กร (Telecommunication Engineering, Enterprise Architecture)

ผศ.ดร.ก่อพร พันธุ์ยิ้ม (การสื่อสารข้อมูล / สถาปัตยกรรมองค์กร (Data Communications / Enterprise Architecture)

ด้านพลังงาน

ผศ.ดร.วรนารถ จงเลิศจรรยา (พลังงานทดแทน/พลังงานชีวมวล/เทคโนโลยีการหมัก)

อ.ดร.ภูมิวัต ผดุงบุตร (การกักเก็บพลังงาน)

ผศ.ดร.ชัชวาลย์ เยรบุตร (พลังงานหมุนเวียน)